ศาสนากับไสยศาสตร์
ไสยศาสตร์ (Magic)
การใช้วิชาความรู้เพื่อป้องกัน บังคับสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชาติให้เป็นไปตามประสงค์
รูปแบบของไสยศาสตร์
1. White magic - ป้องกันเหตุร้าย ขับไล่สิ่งชั่วร้าย แก้อาถรรพ์ ปัดรังควาน
2. Black magic - ทำร้ายผู้อื่น คุณไสย ยาแฝด ฝังรูปฝังรอย กฤตยา
2. Black magic - ทำร้ายผู้อื่น คุณไสย ยาแฝด ฝังรูปฝังรอย กฤตยา
แนวคิดหลักของไสยศาสตร์
กฎแห่งความคล้ายคลึง - สิ่งที่เหมือนกันย่อมผลิตผลเหมือนกัน
เช่น การทำสเน่ห์ยาแฝด, แห่นางแมว, ปั้นเมฆ,
สาดน้ำสงกรานต์
กฎแห่งผัสสะ - สิ่งที่ครั้งหนึ่งเคยกระทบถูกต้องกัน
ก็ยังเป็นเช่นนั้นต่อไปแม้จะอยู่ห่างไกลกันหรือขาดตอนกันไปแล้ว เช่น
พิธีปูที่นอนบ่าวสาวเชิญผู้ใหญ่นอนเอาฤกษ์ให้อยู่เย็นเป็นสุข
ความเหมือนกัน (ศาสนา+ไสยศาสตร์)
1. เชื่อในสิ่งที่เหนือธรรมชาติ
2. ความเชื่ออยู่เหนือประสบการณ์ตรง
3. มีระบบสัญญลักษณ์
4. มีพิธีกรรมและผู้ประกอบพิธีกรรม
2. ความเชื่ออยู่เหนือประสบการณ์ตรง
3. มีระบบสัญญลักษณ์
4. มีพิธีกรรมและผู้ประกอบพิธีกรรม
ความแตกต่าง กัน (ศาสนา+ไสยศาสตร์)
1. ผู้ประกอบพิธีกรรม
(ตัวแทนของผู้สืบทอดศาสนา เช่น พระ / ตัวแทนของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งถูกกำหนดไว้ตายตัว
ผู้อื่นแทนไม่ได้)
2. พิธีกรรม (วัตถุประสงค์กว้าง ๆ เช่นให้มีความสุขความเจริญ/ วัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น ให้หายจากโรค, ขอฝน, ทำร้ายศัตรู)
3. ขั้นตอนของพิธีกรรม (สวดมนต์, สวดอ้อนวอน / เป็นรูปธรรม เช่น ลงยันต์, ปลุกเสก, นำรากไม้ใส่ขัน)
2. พิธีกรรม (วัตถุประสงค์กว้าง ๆ เช่นให้มีความสุขความเจริญ/ วัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น ให้หายจากโรค, ขอฝน, ทำร้ายศัตรู)
3. ขั้นตอนของพิธีกรรม (สวดมนต์, สวดอ้อนวอน / เป็นรูปธรรม เช่น ลงยันต์, ปลุกเสก, นำรากไม้ใส่ขัน)
----------------------------------
นายพัชรกุล นารีนุช
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น